top of page
Search

Growth Hormone ข้อดี และข้อควรระวัง Let's get to know about GH



ปัจจัยที่ทำให้เราชราขึ้น มีหลายปัจจัยด้วยกัน ทั้งแสงแดด ที่กินส่วนแบ่งมากที่สุดในการเป็นสารอนุมูลอิสระ หรือกระตุ้นให้เกิดอนุมูลอิสระ ทั้งพฤติกรรมในชีวิตประจำวัน และอายุเพิ่มขึ้นทุกวัน ที่จะทำให้น้ำหนักลดยาก และริ้วรอยที่เกิดขึ้น ใครหลายคนจึงหาวิธีจัดการกับปัญหาความชราโดยการหาวิธีแต่งหน้าใส ๆ ลดอายุ หรือบางคนต้องหันไปหาที่พึ่งทางใจอย่าง อาหารเสริม โบท๊อซ์ก ตลอดจนร้อยไหม จนลืมไปว่าเรื่องของความหน้าแก่นั้น ก็มีสาเหตุมาจากโกรทฮอร์โมน (Growth Hormone) ที่ลดลงด้วยเช่นกัน (แต่อาจจะไม่ใช่สาเหตุหลักๆสำหรับทุกคน และแนะนำให้ไปตรวจและฟังคำแนะนำจากแพทย์ก่อน)

บทบาทของโกรทฮอร์โมน (Growth Hormone) ต่อร่างกาย

การเจริญเติบโตของร่างกายเป็นขบวนการซับซ้อน และอาศัยการทำงานของฮอร์โมนหลายชนิด แต่มีฮอร์โมนอยู่ 1 ชนิดที่สำคัญมากที่ร่างกายต้องนำสารอาหารกลุ่มโปรตีนในรูปกรดอะมิโนซึ่งเป็นหน่วยเล็กที่สุดมาใช้ในการสร้าง และยังเป็นจุดเริ่มต้นของหลายกระบวนการที่สำคัญคือ โกรทฮอร์โมน Growth hormone (GH)


หน้าที่ของ 'โกรทฮอร์โมน' (Growth Hormone)

โกรทฮอร์โมน หรือฮอร์โมนจีเอช (Growth Hormone : GH) เป็นฮอร์โมนหลักที่ผลิตจากต่อมใต้สมอง (Pituitary Gland) ถูกสร้างขึ้นจากหน่วยย่อยของโปรตีนหรือกรดอะมิโนหลายชนิดทำหน้าที่ดังนี้



1. ควบคุมการเจริญเติบโตของร่างกาย

2. ควบคุมการทำงานของอวัยวะทุกส่วนของร่างกาย


3. ดูแลเรื่องการสร้างเซลล์ใหม่ให้กับอวัยวะต่างๆ เมื่อสึกหรอและต้องการซ่อมแซมให้ฟื้นฟูกลับมาทำงานได้เหมือนปกติ


4. ดูแลการสร้างเซลล์กระดูกอ่อน ทำให้กระดูกเจริญเติบโตได้ตามปกติ

5. ควบคุมการทำงานของระบบสมอง และเสริมสร้างพัฒนาการของเซลล์สมอง

6. ควบคุมการทำงานของเอ็นไซม์หลายชนิดในร่างกายให้ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ

ประโยชน์ของโกรทฮอร์โมน (Growth Hormone) ที่สำคัญกับร่างกาย

1. ประโยชน์สำหรับเด็ก

เมื่อเด็กนอนหลับไม่เพียงพอจะทำให้ร่างกายหลั่งโกรทฮอร์โมน Growth hormone (GH) ได้ไม่สมบูรณ์เต็มที่ ทำให้มีภาวะเตี้ยและเติบโตช้ากว่าเด็กในวัยเดียวกัน โกรทฮอร์โมนจะการกระตุ้นให้ตับหลั่ง IGF- I (Insulin-like Growth factor-I) ซึ่ง IGF-I นี้จะกระตุ้น เซลล์ของกระดูกอ่อน (cartilage cell or chondrocyte) ทำให้มีการแบ่งตัว ของเซลล์กระดูกอ่อน นอกจากนี้ยังกระตุ้นการสร้างเนื้อเยื่อที่ปลายกระดูกอ่อน (epiphyseal plate) โดยกระตุ้นการขนถ่ายกรดอะมิโนในการสร้างโปรตีนที่กล้ามเนื้อและเนื้อเยื่ออื่นๆ ทำให้มีการแบ่งตัวเพิ่มจำนวนเซลล์ (hyperplasia) และขยายขนาด (hypertrophy) เพิ่มขึ้นทำให้เด็กๆ มีโอกาสจะสูงได้เพิ่มขึ้น


2. ประโยชน์ด้านการนอนหลับสำหรับคนทุกวัย

โกรทฮอร์โมน Growth hormone (GH) จะช่วยให้คนทุกวัยหลับสนิทและร่างกายสามารถซ่อมแซมตัวเองได้อย่างสมบูรณ์เมื่อเราหลับสนิท ผู้ใหญ่ที่มีปัญหาเกี่ยวกับการนอนไม่หลับ หรือหลับไม่สนิทซึ่งส่งผลให้ร่างกายผลิตโกรทฮอร์โมน Growth hormone (GH) ได้น้อยลง สังเกตได้ว่ามักมีปัญหาตื่นตอนกลางดึกแล้วไม่สามารถหลับต่อได้ ซึ่งเมื่อมีการเสริมให้ร่างกายมีโกรทฮอร์โมน Growth hormone (GH) เพิ่มมากขึ้น ก็จะทำให้กระบวนการหลับเกิดได้ดีและเป็นธรรมชาติมากขึ้น


3. ประโยชน์เรื่องการชะลอวัย

คนเราเมื่ออายุ 25 ปีขึ้นไปร่างกายจะผลิตโกรทฮอร์โมน Growth hormone (GH) ลดลง 14% และลดลงแบบนี้ในทุก 10 ปี สิ่งที่เกิดขึ้นกับร่างกาย ยกตัวอย่างเช่น รู้สึกว่าร่างกายอ่อนแอลง ไม่สบายบ่อย มีไขมันตามร่างกายเพิ่มขึ้นหรือสะสมง่ายขึ้น อารมณ์แปรปรวนหรือหดหู่ นอกจากปัญหาการนอนไม่หลับแล้วยังพบภาวะการเสื่อมสมรรถภาพทางเพศ เป็นต้น การได้รับอาหารที่เสริมให้ร่างกายผลิตโกรทฮอร์โมน Growth hormone (GH) ได้เพิ่มขึ้น จะทำให้ความเสื่อมต่างๆ ไม่เกิดขึ้นก่อนเวลาหรืออาจทำให้เสื่อมช้ากว่าคนอื่นในวัยเดียวกัน


 

How to stimulate the release of Growth hormones (GH)



Growth hormone variation in the production:

  1. GH has diurnal variation in concentration. Stimuli leading to increase of GH:

    1. Exercise.

    2. Physical and emotional stress.

    3. Ingestion of protein.

    4. In hypoglycemia.

    5. Spike occurs after 3 hours of meals or exercise.



  1. The level is low during the day and is around 5 ng/mL (another reference says <2 ng/mL).

  2. In adults and children in the evening, it shows the highest level.

  3. The secretion of GH is episodic and variable; sometimes, the level may reach 40 ng/ml in a healthy subject.

  4. The highest values are noted during the deepest sleep level. So its level is increased during sleep.

    1. So the best time is 60 to 90 minutes after deep sleep.

      1. Or do the exercise for 30 minutes and get the GH sample, which will be at the highest level.

      2. The GH may increase ten times the normal level during sleep.


การได้รับ Growth Hormones ต่อเนื่องและเกินอัตราที่ร่างกายต้องการ เป็นสิ่งที่ควรระวัง

ได้แก่

  1. อาจจะเกิดการเติบโตของเซลล์ที่เราไม่ได้ต้องการได้เช่น Tumor เนื้องอก หรือเซลล์มะเร็ง สามารถตรวจพบได้จาก CT scan หรือ MRI

  2. การเติบโตของ soft tissue จมูก หู หรือกล้ามเนื้อ

  3. ถ้าเป็นผู้ใหญ่สิ่งที่พบเห็นได้บ่อยได้แก่ Acromegaly ซึ่งจะอธิบายในบทต่อๆไป


Clinical presentation of growth hormone (GH) excess:

  1. Excess GH is seen in the eosinophilic or chromophobe adenomas of the pituitary gland.

    1. 75% of these tumors can be diagnosed on CT scans or MRIs.

    2. Prolonged exposure to GH leads to overgrowth of the skeleton, muscles, and soft tissues.

    3. It is usually seen in adults and is called Acromegaly.

    4. This condition is called Pituitary gigantism when excess GH is seen before long bone growth is complete.


  1. The excess of GH leads to Acromegaly.

    1. Pituitary gigantism is seen before the long bone growth is complete.

    2. This can be diagnosed by the physical appearance of the patient.


  1. There is an overgrowth of soft tissue and bone.

    1. There is coarse oily skin.

    2. There is a large tongue.

    3. There are prominent supraorbital ridges.

    4. The teeth spacing is increased.

    5. Hands are thick spade-like.

    6. The patient will have arthralgia and kyphosis.

    7. Voice is coarse.

    8. The patient may develop proximal muscle weakness.

    9. Sweating and headache are common.

    10. The patient will have progressive heart failure.


  1. The reversibility of the physical changes depends upon the duration of the disease.

ดังนั้น การได้รับ Growth hormone เสริมจากแพทย์อาจจะเป็นทางเลือกสำหรับใครหลายคน แต่ควรอยู่ภายใต้การดูแลจากผู้เชี่ยวชาญ




bottom of page